วันเสาร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วันจันทร์ ที่ 30 เดือน มีนาคม 
พ.ศ 2558 

วันนี้มีสอนการเขียนแผนศิลปะสร้างสรรค์และเตรีมงานกีฬาสีคณะศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
















บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 23 เดือนมีนาคม 2558


วันนี้มีการสอบข้อเขียน






 บันทึกอนุทินครั้งที่ 10 


ประจำวันอังคารที่ 17 เดือนมีนาคม พ.ศ 2558






ความรู้ที่ได้รับ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง











กิจกรรมท้ายคาบ


















การประยุกต์ใช้
   1. สามารถนำตารางการช่วยเหลือตัวเองของเด็กๆไปใช้ในการเรียนการสอนจริงได้
   2. ได้รู้การทำผลงานศิลปะที่สร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กและสามารถนำไปต่อยอดได้

การประเมินหลังการสอน
ประเมินตนเอง : มาสาย แต่งกายไม่ค่อยสุภาพแต่หล่อน่ะ
ประเมินเพื่อน :  ตั้งใจเรียน ตั้งใจทำงาน
ประเมินอาจารย์ : สอนสนุก อธิบายได้ชัดเจ
บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

ประจำวันจันทร์ที่ 9 มีนาคม พ. ศ 2558

ต้นชั่วโมงของการเรียนทำแบบทดสอบจิตวิทยา 







ทบทวนเพลงที่สอนในสัปดาห์ที่เเล้ว







 ทักษะทางด้านภาษาการวัดความสามารถทางภาษา เข้าใจในสิ่งที่คนอื่นพูดไหมตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหมถามหาสิ่งต่างๆไหมบอกเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไหมใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม

การออกเสียงผิด / พูดไม่ชัด การพูดตกหล่นการใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียงหนึ่งติดอ่าง


การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่   ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัดห้ามบอกเด็กว่า " พุดช้า" "ตามสบาย"  "คิดก่อนพูด"อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูดอย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็กไม่เปรียบเทียบการพุดของเด็กกับเด็กคนอื่นเด็กที่พูดไม่ชัดอาจจะเกี่ยวข้องกับการได้ยินให้โอกาสเด็กได้พูด


ทักษะทางภาษา  ทักษะการรับรุ้ภาษา(เด็กพิเศษสำคัญมาก)การเเสดงออกทางภาษาการสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด ส่วนมากเด็กพิเศษจะทำกัน ซึ่งคนเป็นครูต้องดูให้ออกว่าเด็กต้องการจะสื่ออะไร





กิจกรรมในห้องเรียน












การนำไปประยุกต์ใช้

  • กิจกรรมศิลปะสามารถชวยให้เด็กแสดงอารมณ์ผ่านผลงานออกมาได้ ฉะนั้น การที่ให้เด็กได้ทำผลงานศิลปะนั้นก็เหมือนกับการที่ให้เด็กระบายความในใจนั่นเอง
  • เพลงช่วยให้เด็กเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวได้ดียิ่งขึ้น
การประเมินหลังการสอน

ประเมินตนเอง : แต่งตัวเรียบร้อย ตั้งใจทำผลงานที่อาจารย์ได้มอบหมาย

ประเมินเพื่อน : ตั้งใจทำงาน ตั้งใจเรียน
ประเมินอาจารย์ : แต่งตัวเรียบร้อย ตรงต่อเวลา สอนสนุก

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8 

ประจำวันจันทร์ ที่ 2 มีนาคม พ . ศ 2558
ไม่ได้มาเรียน คัดลอกมาจาก นางสาว กาญจนา ธนารัตน์

>>>>>> >>>>ต้นชั่วโมง<<<<<<<<<<





อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนทำแบบทดสอบจิตวิทยา 5ข้อคลายเครียดและเรียกความสนใจในการเรียนได้เป็นอย่างดี





>>>>> แบบทดสอบรถไฟเหาะแห่งชีวิต(คุณจะต้องใช้ดินสอและกระดาษในการทายใจ) <<<<<<<<


          

1.คุณเดินเข้าประตูสวนสนุกและเห็นรถไฟเหาะอยู่ตรงหน้าโดยมีคนเข้าแถวเพื่อรอรอบของตนเองคุณคิดว่าคุณต้องรอนานเท่าไหร่จึงจะได้เล่น?

2.ในที่สุดก็ถึงตาคุณแล้วขณะนี้คุณกำลังหมุนและขึ้นลงไปตามราง ความเร็วทำให้คุณรู้สึกอย่างไร?

3.จุดที่ตื่นเต้นที่สุดของรถไฟเหาะนี้ก็คือเวลาที่รถไฟพุ่งดำดิ่งลงไปในสระน้ำคุณเปียกโชกไปด้วยน้ำที่สาดกระเซ็นเข้ามา ณ เวลานั้นคุณจะร้องหรือตะโกนออกมาอย่างไร?

4.คุณตัดสินใจที่จะเล่นม้าหมุนต่อแต่ขณะที่คุณกำลังนั่งอยู่บนม้าหมุนนั้นม้าตัวที่คุณนั่งอยู่เกิดขัดข้องและหยุดหมุนขึ้นมากะทันหัน คุณจะพูดกับม้าตัวนั้นว่าอย่างไร?

5.รถไฟ เหาะที่คุณเพิ่งเล่นมานั้นนับได้ว่าตื่นเต้นไม่เบาแต่มันอาจดีมากกว่านั้น ถ้าคุณสามารถออกแบบรถไฟเหาะที่สมบูรณ์แบบสำหรับตัวเองคุณจะออกแบบเส้นทาง รถไฟเหาะอย่างไร?วาดรูปโดยละเอียด      


                                                     
>>>>>>>>>> เฉลยคำตอบจ้า(ขำๆกันไปจ้า)<<<<<<<<<<<<<

ในทางจิตวิทยาการเคลื่อนไหวขึ้นลงที่เป็นจังหวะที่แสดงถึงความตื่นเต้นเร้าใจของอารมณ์ทางเพศ เพราะฉะนั้นคำตอบที่ผ่านมาทั้ง 5 ข้อ แท้ที่จริงแล้วหมายถึงความคิดของคุณในเรื่อง SEX

1.เวลาที่คุณใช้ในการรอขึ้นรถไฟเหาะคือระยะเวลาที่คุณใช้หรือระยะเวลาที่คุณอยากให้คู่ของคุณใช้ในการเล้าโลม 
2.ความรู้สึกของคุณขณะนั่งรถไฟเหาะบอกถึงความรู้สึกของคุณขณะร่วมรัก
3.คำพูดของคุณขณะที่รถไฟเหาะพุ่งลงไปในน้ำหมายถึงคำพูดของคุณที่จะใช้พูดในขณะที่คุณถึงจุดสุดยอดในการร่วมรัก
4.ใน ทางจิตวิทยาม้าแสดงถึงความเป็นชายชาตรีคำพูดที่คุณพูดกับม้าตัวที่ขัดข้อง กะทันหันบอกถึงสิ่งที่คุณอาจพูดกับตัวเองหรือคู่ของคุณในสถานการณ์ที่คุณ ผู้ชายล้มเหลวในเวลาปฏิบัติหน้าที่
5.ภาพของรถไฟเหาะในอุดมคติ แสดงถึงภาพของ SEX ที่สมบูรณ์แบบในความคิดคุณ


                                                    

เนื้อหาที่เรียนในวันนี้......... เรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะทางด้านสังคม
  • ควรฝึกมากๆบ่อยๆ
  • เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคมไม่ได้มีสาเหตุมาจากการเลี้ยงดูของพ่อแม่หรือสภาพเเวดล้อม
  • การอยู่ในสภาพเเวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการด้านต่างๆอย่างมีความสุข
  • เด็กออทิสติกขาดทักษะด้านนี้มาก
กิจกรรมการเล่น
  • การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
  • เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ
  • ในช่วงเเรกๆเด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อนเเต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสำรวจ สัมผัส กัด ดึง
ยุทศาสตร์การสอน
  • วางแผนกิจกรรมไว้หลายๆอย่าง
  • คำนึงถึงเด็กทุกคน
  • ให้เ็ดเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน (อัตราส่วน เด็กพิเศษ 1 คน : เด็กปกติ 3คน)
  • เด็กปกติทำหน้าที่เหมือนครูให้เด็กพิเศษ
  • ไม่ควรหันหลังให้เด็กเวลาทำกิจกรรมเพราะจะทำให้เกิดเหตการต่างๆเช่น เด็กน้อยใจที่ครูไม่สนใจ พฤติกรรมอันตรายบางอย่าง เป็นต้น
ครูควรปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
  • อยู่ใกล้ๆเเละเฝ้ามองอย่างสนใจ
  • ยิ้มและพยักหน้าหากเด็กหันมาหาครู
  • ไม่ชมเชยหรือใส่ใจเด็กมากจนเกินไป
  • เอาวัสดุ/อุปกรณ์ /ของเล่น เพิ่มที่ละน้อยๆ เพื่อยืดเวลาความสนใจในการทำกิจกรรม
  • ให้ความคิดเห็นเป็นเเรงเสริม โดยเฉพาะน้องดาว
การให้เเรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
  • ครูพูดชักชวนให้เด็กเล่นกับเพื่อน
  • ทำโดยการพูดนำของครู
  • ดูบริบทหรือสิ่งเเวดล้อมรอบตัวเด็ก
  • ของเล่นเป็นสื่อกลางใช้ดีในการดึงดูดเพื่อน
ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฏเกณฑ์
  • เด็กทุกคนมีความเท่าเทียมกันคือสิ่งสำคัญที่ควรคำนึง
  • ไม่ง่ายสำหรับเด็กพิเศษ
  • การให้โอกาสให้เขาได้ลองทำ ลองเล่น ตามที่เขาสนใจ
  • ครูต้องไม่ใช้ความบกพร่องมาเป็นเครื่องต่อรอง
  • ทำให้เป็นเกม
  • เด็กต้องการคำพูดชี้นำของครูมาก
  • ทำซ้ำบ่อยๆสม่ำเสมอ
>>>>>>>>>>>>>>>>>> ฮู้....มาม่ะ มาทำงานศิลปะบำบัดกันดีกว่า <<<<<<<<<<<<<<<<<<<<


 >>>>>>>>>  วัสดุ/อุปกรณ์  <<<<<
          กระดาษ , สีเทียน  , เพลงบรรเลง
เริ่มต้นจากเเบ่งเด็กออกเป็น 2 คน โดยกำหนดให้ คนเเรกจุดเส้นตรงภาพที่เพื่อนวาดเป็นวงกลม และอีกคนเป็นคนขีดเส้นเรื่อยๆไปตามจังหวะเพลงโดยไม่ยกสีออกจากกระดาษ  จากนั้นตกเเต่งภาพตามจินตนาการที่ตาเรามองเห็นได้อย่างอิสระ




>>>>>>>>>>>>>  นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน  <<<<<<<<<<<<  




>>>>>> มาร้องเพลงกันเถอะพวกเรา <<<<<

ผู้เเต่ง.............อาจารย์ ศรีนวล รัตนสุวรรณ
เรียบเรียง......อาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิน

เพลงดวงอาทิตย์

ยามเช้าตรู่อาทิตย์ทอแสงทอง
เป็นประกายเรืองรองผ่องนภา
ส่องสว่างไปทั่วเเหล่งหล้า
บ่งเวลาว่ากลางวัน


เพลงดวงจันทร์


ดวงจันทร์ทอแสงนวลใย
สุกใสอยู่ในท้องฟ้า
เราเห็นดวงจันทรา
แสงพราวตายามค่ำคืน


เพลงดอกมะลิ


ดอกมะลิกลีบขาวพราวตา
เก็บเอามาร้อยเป็นมาลัย
บุชาพระทั้งใช้ทำยาก็ได้
ลอยในน้ำ อบขนมหอมชื่นใจ


เพลงกุหลาบ


กุหลาบงามก้านหนามเเหลมคม
จะเด็ดดมระวังกายา
งามสดสีสมเป็นดอกไม้มีค่า
เก็บเอามาประดับไว้ในเเจกัน


เพลงนกเขาขัน


ฟังสิฟังนกเขาขันมันขยันขันคู
ฟังสิฟังนกเขาขันมันขยันขันคู
จุ๊กกรู จุ๊กกรู จุ๊กกรู จุ๊กกรู


เพลงรำวงดอกมะลิ


รำวงรำวงร่วมใจ
หอมดอกมะลิที่ร้อยเป็นมาลัย
กลิ่นหอมตามลมไปไกล
หอมชื่นใจจริงเอย

การประยุกต์ใช้
  • อย่าหันหลังให้เด็กในการทำกิจกรรมเพราะอาจจะทำให้เกิดเรื่องที่ไม่คาดคิดได้ เช่น ความน้อยใจ การทำร้ายเพื่อน 
  • ของเล่นเพิ่มทีละน้อยๆเพื่อยืดเวลาในการเรียนรู้หรือความสนใจของเด็กออกไป
  • มองเด็กให้เป็นเด็ก มีความเสมอภาคกันทุกคน
  • เน้นการฝึก การกระทำซ้ำๆบ่อยๆ 
การประเมินหลังการสอน
ประเมินตนเอง : วันนี้เหนื่อยมาๆเนื่องจากกิจกรรมในช่วงเช้าเลยไม่ค่อยจะสดชื่นเท่าที่ควร เเต่ก็ตั้งใจเรียน เข้าใจเนื้อหาเเละร่วมทำกิจกรรรมในห้องเรียนร่วมกับเพื่อนๆอย่างเต็มที่
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนเหนื่อยๆกับกิจกรรมในช่วงเช้าบางคนก้ไม่ไหวเลยต้องหยุดพักไปใน คาบบ่ายนี้ส่วนเพื่อนๆที่มาก็ตั้งใจเรียนร่วมทำกิจกรรมกันอย่างสนุกสนาน
ประเมินอาจารย์ : วันนี้สนุกดีค่ะ ส่วนตัวชอบทดแบบทดสอบจิตวิทยาอยู่แล้วเลยเพลินเลย 555 อาจารย์มีเทคนิคการสอน การดึงความสนใจอย่างนักศึกษาได้อย่างดี อธิบายเนื้อหารายวิชาได้อย่างละเอียดและเข้าใจง่าย


บันทึกอนุทินครั้งที่ 7 

ประจำวันจันทร์ที่ 23 เดือนกุมภาพันธุ์ พ.ศ 2558

สอบกลางภาค 23 กุมภาพันธุ์ ถึง 1 มีนาคม พ.ศ 2558


 บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

         
 ประจำวันจันทร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ 
พ.ศ 2558

เตรียมงานเซอร์ไพสร์ วันเกิด อาจารย์























บันทึกอนุทินครั้งที่5 

ประจำวัน จันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์  
พ.ศ 2558



ความรู้ที่ได้รับ



กิจกรรมวาดมือ ซ้ายใส่ถุงมือ-ขวาไม่ใส่ถุงมือ 



















เรื่อง.....การสอนเด็กพิเศษเเละเด็กปกติ 


ทัศนคติของครู

  • มีความยืดหยุ่น : ในการสอน เป้าหมาย ขอบเขตความสามารถของเด็ก
  • การใช้สหวิทยาการ : ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคลในอาชีพอื่นเเละสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน


เทคนิคการเสริมเเรงในเด็กปฐมวัย

            ครูต้องเริมเเรงทันทีเมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ครูต้องระเว้นความสนใจทันทีเมื่อเด็กมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ครูควรให้ความนใจนานเท่าเด็กที่มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์


ขั้นตอนในการเสริมเเรง

             สังเกตเเละกำหนดจุดมุ่งหมายวิเคราะห์งานเเละกำหนดจุดประสงค์ย่อยๆในงานเเต่ละชิ้นสอนจากง่ายไปยากให้เเรงเสริมทันทีเมื่อเด็กทำได้/เมื่อเด็กพยายามอย่างเหมาะสมลดการบอกบทให้เเรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคยงจุดมุ่งหมายที่สุดทีละขั้น ไม่เร่งรัดไม่ดุหรือตี

การประยุกต์ใช้
  1. นำเทคนิคการเสริมเเรงไปช่วยเป็นเเรงกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น
  2. นำความรู้ต่างๆทั้งกิจกรรมและความรู้ที่เกี่ยวกับเด็กพิเศษไปใช้ในการสอน
ประเมินหลังการสอน
ประเมินตนเอง : วันนี้ขออนุญาติอาจารย์ออกห้องเรียนก่อนเวลาเพื่อไปทำโครงการสำรวจ-พัฒนาชุมชนซึ่งในตอนหลังก็มาได้ศึกษางานจากเพื่อนอีกที
ประเมินเพื่อน :ตั้งใจเรียน แต่งกายสุภาพ น่ารัก
ประเมินอาจารย์ : สอนได้เข้าใจง่าย และ อธิบายได้อย่างละเอียด

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

ปรจำวันจันทร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558

ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์สัมมนาทางวิชาการเรื่องผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาใน


















บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

ประจำวันอังคาร ที่ 26 เดือนมกราคม พ.ศ. 2558
  
ความรู้ที่ได้รับ
            ครูไม่ควรตั้งชื่อล้อเลียนเด็กพิเศษเพราะอาจจะทำให้เด็กเกิดปมด้อยในใจ และจะทำให้เกิดผลเสียภายในจิตใจ ซึ่งอาจจะเกิดผลเสียต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กได้ นอกจากนี้การวินิจฉัยว่าเด็กเป็นโรคต่างๆนั้น โดยแท้จริงแล้ว คุณครูเป็นคนที่อยู่กับเด็กมากกว่าหมอ ฉะนั้นพฤติกรรมบางอย่างที่บ่งบอกถึงความผิดปกติทางด้านต่างๆของเด็กคุณครูอาจจะรู้ แต่การวินิจฉัยโรคให้กับเด็กนั้น บางทีแล้วผู้ปกครองอาจจะรู้อยู่แล้วว่าเด็กเป็นโรคนั้นๆ ฉะนั้นควรจะบอกผู้ปกครองทางอ้อม ไม่ควรพูดตรงๆเพราะยางทีอาจจะทำให้ผู้ปกครองนั้นไม่พอใจได้





เพลงสำหรับเด็กปฐมวัย


เพลง ฝึกกายบริหาร

ฝึกกายบริหารทุกวันร่างกายเเข็งเเรง
ฝึกกายบริหารทุกวันร่างกายเเข็งเเรง
รูปทรงสมส่วนแคล่วคล่องว่องไว
รูปทรงสมส่วนแคล่วคล่องว่องไว




เพลง ผลไม้
ส้มโอ แตงโม แตงไทย
ลิ้นจี่ ลำไย องุ่น พุทธา
เงาะ ฝรั่ง มังคุด
กล้วย ละมุด น้อยหน่า
ขนุน มะม่วง นานาพันธุ์




เพลง กินผักกัน

กินผักกันเถอะเรา
บวบ ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว เเตงกวา
คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง โหรพา
มะเขือเทศสีดา ฟักทอง กระหล่ำปลี




เพลง ดอกไม้

ดอกไม้ต่างพันธุ์ สวยงามสดสี
เหลือง เเดง ม่วง มี เเสด ขาว ชมพู




เพลง จ้ำจี้ดอกไม้

จ่ำจี้ดอกไม้ ดอกเรือง หงอนไก่
จำปี จปา มะลิ พิกุล
กุหลาบ ชบา ชวนชื่น กระดังงา
เข็ม แก้ง ลัดดา เฟื่องฟ้า ราตรี








กิจกรรม


ให้วาดรูปดอกบัวที่มองเห็นในโปรเจตเตอร์ให้เหมือนที่สุด





การประยุกต์ใช้

     1. สามารถนำเพลงไปใช้ในการพัฒนาอวัยวะต่างๆของเด็กปฐมวัย
     2. สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการพูดกับผู้ปกครองและการวินิจฉัยไปใช้ในอาชีพครูได้
การประเมินหลังการสอน
ประเมินตนเอง: ตั้งใจเรียน เเต่งการสุภาพเรียบร้อย
ปรเมินเพื่อน : ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงเวลา เเละให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมในห้องเรียน
ประเมินอาจารย์: สอนสนุก สอดแทรกไปด้วยกิจกรรม